ยึดมั่นธรรมาภิบาล บริการเพื่อประชาชน 

แจ้งเรื่องร้องเรียนสายผู้บริหาร

ภารกิจผู้บริหาร

ปลัด




E-Learning

วันท้องถิ่นไทย



ศูนย์ดำรงธรมม







สถิติการเข้าชม เริ่มวันที่ 19/03/2563
วันนี้
1
เมื่อวานนี้
237
เดือนนี้
547
เดือนที่แล้ว
5,139
ปีนี้
32,085
ปีที่แล้ว
34,540
ทั้งหมด
105,174
ไอพี ของคุณ
3.239.59.31

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

 

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

ข้อมูลทั่วไป

ตำบลยางเปียง เดิมอยู่ภายใต้การปกครองของอำเภอฮอด ประชากรส่วนใหญ่อพยพมาจากอำเภอฮอดในปัจจุบัน เพื่อหาที่ราบลุ่มในการประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม เมื่อมาพบที่ราบลุ่มจึงหยุดตั้งถิ่นฐานโดยใช้ชื่อว่ายั้งเปียง ต่อมาเปลี่ยนเป็นยางเปียง และได้มีการจัดตั้งอำเภอ โดยแยกมาจากอำเภอฮอด เป็นกิ่งอำเภออมก๋อยในปี 2473 ต่อมายกฐานะเป็นอำเภออมก๋อยเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2501 ตำบลยางเปียง จึงเป็นตำบลหนึ่งของอำเภออมก๋อย โดยแยกการปกครองเป็น 2 ตำบล คือตำบลยางเปียง และตำบลสบโขง ปัจจุบันตำบลยางเปียงแยกการปกครองเป็น 17 หมู่บ้าน

 

1. ที่ตั้ง และอาณาเขต


ตำบลยางเปียง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของที่ว่าการอำเภออมก๋อย ที่ตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลยางเปียงห่างจากที่ว่าการอำเภออมก๋อยเป็นระยะทาง 2 กิโลเมตร
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลอมก๋อย อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลแม่ตื่นและตำบลม่อนจอง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่
ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลสบโขง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่

 

1.1 เนื้อที่

เนื้อที่โดยประมาณ 485.75 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ทำกิน 7,121 ไร่ แยกเป็นพื้นที่ทำนา 3,536 ไร่ พื้นที่ทำไร่ 3,585 ไร่พื้นที่ป่าสงวน 289,551 ไร่

 

1.2 ภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสลับซับซ้อน บางส่วนยังคงเป็นป่าดงดิบอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธ์ไม้นานาชนิด มีพื้นที่ราบบางส่วนยังมีความอุดมสมบูรณ์ของต้นไม้ต่าง ๆ เช่น ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้มะค่า ไม้ประดู่ และไม้สัก มีต้นน้ำลำธารไหลตลอด จึงเป็นที่อยู่อาศัยของชาวเขาเผ่าต่าง ๆ เช่นชนเผ่ากระเหรี่ยง ชนเผ่าม้ง ประชากรส่วนใหญ่ ของแต่ละหมู่บ้านจะตั้งบ้านเรือนอยู่กระจัดกระจายตามลุ่มน้ำ โดยอาศัยเป็นที่ทำการเกษตรเพื่อทำไร่ ทำนา และเลี้ยงสัตว์

 

1.3 ภูมิอากาศ
ลักษณะทางภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมมี 3 ฤดู
- ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนเมษายน - พฤษภาคม อุณหภูมิเฉลี่ย 25 องศาเซลเซียส
- ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม มีระดับน้ำฝนเฉลี่ย 1,000 มล./ปี
- ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม - มีนาคม อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 2-4 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 15 - 20 องศาเซลเซียส ( ช่วงเดือนมกราคม บางปี อุณหภูมิลดลงถึง 0 องศาเซลเซียส จนน้ำค้างจับตัวกันเป็นเกล็ดน้ำแข็งเรียกว่า “เหมยขาบ” )

 

1.4 จำนวนหมู่บ้าน

* ข้อมูลจากสำนักทะเบียนอำเภออมก๋อย เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวนครัวเรือน

ประชากร

รวม

ชาย

หญิง

1

บ้านหลวง

221

189

177

366

2

บ้านยางเปียง

253

341

330

671

3

บ้านแม่ลาน

257

412

427

839

4

บ้านห้วยปู

149

250

218

468

5

บ้านห้วยโค้ง

145

235

238

473

6

บ้านห้วยตอง

194

292

301

593

7

บ้านยางครก

360

585

561

1,146

8

บ้านโป่ง

185

205

188

393

9

บ้านนาไคร้

241

317

316

633

10

บ้านสบลาน

264

365

367

732

11

บ้านปิตุคี

182

341

285

626

12

บ้านกองซาง

94

226

243

469

13

บ้านดอย

351

430

455

885

14

บ้านแม่แฮ

129

235

229

464

15

บ้านขุนหาด

94

210

192

402

16

บ้านยางเปียงใต้

137

184

182

366

17

บ้านหลังป่าข่า

132

232

197

429

 

รวม

3,388

5,049

4,906

9,955



1.5 ท้องถิ่นอื่นในตำบล
จำนวนเทศบาล - แห่ง
จำนวนองค์การบริหารส่วนตำบล 1 แห่ง

 

2. สภาพทางเศรษฐกิจ


2.1 อาชีพของประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลยางเปียง
- ทำนา ทำไร่ ทำสวน รับราชการ รับจ้าง เลี้ยงสัตว์

 

2.2 หน่วยธุรกิจในเขตอบต.
• ร้านค้า 76 แห่ง
• ร้านอาหาร 12 แห่ง
• โกดังขนส่งสินค้า 27 แห่ง
• ปั๊มน้ำมันและก๊าซ 26 แห่ง
• โรงสีข้าว 8 แห่ง
• ร้านซักผ้าหยอดเหรียญ 1 แห่ง
• อู่ซ่อมรถ 21 แห่ง
• บ้านเช่า 10 แห่ง
• ร้านตัดผม/ร้านเสริมสวย 3 แห่ง

• เสาสัญญานโทรศัพท์ 7 แห่ง

• สถานบริการตรวจสภาพรถยนต์ 1 แห่ง

• ร้านรับซื้อของเก่า 1 แห่ง

 

3. สภาพทางสังคม


3.1 การศึกษา
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 8 แห่ง ได้แก่
1.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหลวง หมู่ที่ 1
2.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยางเปียง หมู่ที่ 2
3.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแม่ลาน หมู่ที่ 3
4.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านห้วยโค้ง  หมู่ที่  5
5.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยางครก หมู่ที่ 7
6.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้นนาไคร้  หมู่ที่  9
7.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสบลานหมู่ที่ 10
8.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกองซาง หมู่ที่ 12

 

โรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 8 แห่ง ได้แก่
1.โรงเรียนบ้านหลวง หมู่ที่ 1
2.โรงเรียนบ้านยางเปียง หมู่ที่ 2
3.โรงเรียนบ้านบ้านแม่ลาน หมู่ที่ 3
4.โรงเรียนบ้านบ้านห้วยโค้ง หมู่ที่ 5
5.โรงเรียนบ้าน้านยางครก หมู่ที่ 7
6.โรงเรียนบ้านบ้านนาไคร้ หมู่ที่ 9
7.โรงเรียนบ้านสบลาน หมู่ที่ 10
8.โรงเรียนบ้านบ้านแม่ลานสาขาดอยซาง หมู่ที่ 12

 

โรงเรียนมัธยมศึกษา(ขยายโอกาส) จำนวน 3 แห่ง ได้แก่
1.โรงเรียนบ้านยางเปียง หมู่ที่ 2
2. โรงเรียนบ้านยางครก หมู่ที่ 7
3. โรงเรียนบ้านห้วยโค้ง หมู่ที่ 5

 

การศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัย จำนวน 12 แห่ง ได้แก่
1.ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านห้วยปูหลวง หมู่ที่ 4
2.ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านบ้านห้วยปูน้อย หมู่ที่ 4
3.ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านบ้านห้วยตองหลวง หมู่ที่ 6
4. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านห้วยตองน้อย หมู่ที่ 6
5. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านเหล่าปลาทู หมู่ที่ 8
6. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านปิตุคี หมู่ที่ 11
7. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านขุนสอง หมู่ที่ 11
8. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านแม่แฮหลวง หมู่ที่ 14
9. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านแม่แฮน้อย หมู่ที่ 14
10. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านขุนหาด หมู่ที่ 15
11. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านหลังป่าข่า หมู่ที่ 17
12. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนบ้านห้วยแห้ง หมู่ที่ 17

 

ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน 4 แห่ง


3.2 สถาบันและองค์กรทางศาสนา
วัดจำนวน 3 แห่ง ได้แก่
1. วัดบ้านหลวง หมู่ที่ 1
2. วัดบ้านยางเปียง หมู่ที่ 2
3. วัดบ้านโป่ง หมู่ที่ 8

 

สำนักสงฆ์จำนวน 4 แห่ง ได้แก่
1. สำนักสงฆ์บ้านยางครก หมู่ที่ 7
2. สำนักสงฆ์บ้านห้วยตองน้อย หมู่ที่ 6
3. สำนักสงฆ์บ้านนาไคร้ หมู่ที่ 9
4. สำนักสงฆ์บ้านปิตุคี หมู่ที่ 11

 

โบสถ์ จำนวน 12 แห่ง ได้แก่
1. โบสถ์คริสตจักรบ้านห้วยแม่ลาน หมู่ที่ 3
2. โบสถ์คริสตจักรบ้านบ้านห้วยปูหลวง หมู่ที่ 4
3. โบสถ์คริสตจักรบ้านห้วยโค้ง หมู่ที่ 5
4. โบสถ์คริสตจักรบ้านยางครก หมู่ที่ 7
5. โบสถ์คริสตจักรบ้านนาไคร้ หมู่ที่ 9
6. โบสถ์คริสตจักรบ้านสบลาน หมู่ที่ 10
7. โบสถ์คริสตจักรบ้านปิตุคี หมู่ที่ 11
8. โบสถ์คริสตจักรบ้านดอย หมู่ที่ 13
9. โบสถ์คริสตจักรบ้านแม่แฮหลวง หมู่ที่ 14
10. โบสถ์คริสตจักรบ้านยางเปียงใต้ หมู่ที่ 16
11. โบสถ์คริสตจักรบ้านหลังป่าข่า หมู่ที่ 17
12. โบสถ์คริสตจักรบ้านห้วยแห้ง หมู่ที่ 17

 

3.3 สาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพจำนวน 2 แห่ง ได้แก่
- บ้านยางเปียง หมู่ที่ 2
- บ้านสบลาน หมู่ที่ 10

อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 80 %
3.4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
สถานีตำรวจ - แห่ง
สถานีดับเพลิง - แห่ง
ศูนย์ อปพร. อบต.ยางเปียง 1 แห่ง

4. การบริการพื้นฐาน


4.1 การคมนาคม ( แสดงจำนวนและสภาพการคมนาคมทางบก)
ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.) จำนวน 17 สายได้แก่
1. ถนนสายบ้านหลวง หมู่ที่ 1 10. ถนนสายบ้านสบลาน หมู่ที่ 10
2. ถนนสายบ้านยางเปียง หมู่ที่ 2 11. ถนนสายบ้านปิตุคี หมู่ที่ 11
3. ถนนสายบ้านแม่ลาน หมู่ที่ 3 12. ถนนสายบ้านกองซาง หมู่ที่ 12
4. ถนนสายบ้านห้วยปู หมู่ที่ 4 13. ถนนสายบ้านดอย หมู่ที่ 13
5. ถนนสายบ้านห้วยโค้ง หมู่ที่5 14. ถนนสายบ้านแม่แฮ หมู่ที่ 14
6. ถนนสายบ้านห้วยตอง หมู่ที่ 6 15. ถนนสายบ้านขุนหาด หมู่ที่ 15
7. ถนนสายบ้านยางครก หมู่ที่ 7 16. ถนนสายบ้านยางเปียงใต้ หมู่ที่ 16
8. ถนนสายบ้านโป่ง หมู่ที่ 8 17. ถนนสายบ้านหลังป่าข่า หมู่ที่ 17
9. ถนนสายบ้านนาไคร้ หมู่ที่ 9

 

ถนนลูกรัง จำนวน 11 สายได้แก่
1. ถนนสายบ้านแม่ลาน หมู่ที่ 3 7. ถนนสายบ้านปิตุคี หมู่ที่ 11
2. ถนนสายบ้านห้วยปู หมู่ที่ 4 8. ถนนสายบ้านกองซาง หมู่ที่ 12
3. ถนนสายบ้านห้วยโค้ง หมู่ที่5 9. ถนนสายบ้านดอย หมู่ที่ 13
4. ถนนสายบ้านห้วยตอง หมู่ที่ 6 10. ถนนสายบ้านแม่แฮ หมู่ที่ 14
5. ถนนสายบ้านนาไคร้ หมู่ที่ 9 11. ถนนสายบ้านขุนหาด หมู่ที่ 15
6. ถนนสายบ้านสบลาน หมู่ที่ 10
ถนนกรมทางหลวงชนบท จำนวน 1 สาย ได้แก่
ถนนกรมทางหลวงชนบท หมู่ที่ 8, 13, 12, 3

 

4.2 การโทรคมนาคม
เสาสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ GSM (เอกชน) 2 แห่ง

 

4.3 การไฟฟ้า
หมู่บ้านที่ใช้ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จำนวน 10 หมู่บ้าน ได้แก่
1. บ้านหลวง หมู่ที่ 1 6. บ้านโป่ง หมู่ที่ 8
2. บ้านยางเปียง หมู่ที่ 2 7. บ้านนาไคร้ หมู่ที่ 9
3. บ้านแม่ลาน หมู่ที่ 3 8. บ้านกองซาง หมู่ที่ 12
4. บ้านห้วยปู หมู่ที่ 4 9. บ้านดอย หมู่ที่ 13
5. บ้านยางครก หมู่ที่ 7 10. บ้านยางเปียงใต้ หมู่ที่ 16

หมู่บ้านที่มีไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ จำนวน 7 หมู่บ้าน ได้แก่

1. บ้านห้วยโค้ง หมู่ที่ 5 5. บ้านแม่แฮ หมู่ที่ 14
2. บ้านห้วยตอง หมู่ที่ 6 6. บ้านขุนหาด หมู่ที่ 15
3. บ้านสบลาน หมู่ที่ 10 7. บ้านหลังป่าข่า หมู่ที่ 17
4. บ้านปิตุคี หมู่ที่ 11

4.4 แหล่งน้ำธรรมชาติ
ลำน้ำ จำนวน 2 สาย ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านหลวง และหมู่ที่ 8 บ้านโป่ง
ลำห้วย จำนวน 15 สาย ตั้งอยู่หมู่ที่
1. บ้านหลวง หมู่ที่ 1 9. บ้านสบลาน หมู่ที่ 10
2. บ้านยางเปียง หมู่ที่ 2 10. บ้านปิตุคี หมู่ที่ 11
3. บ้านแม่ลาน หมู่ที่ 3 11. บ้านกองซาง หมู่ที่ 12
4. บ้านห้วยปู หมู่ที่ 4 12. บ้านดอย หมู่ที่ 13
5. บ้านห้วยโค้ง หมู่ที่ 5 13. บ้านแม่แฮ หมู่ที่ 14
6. บ้านยางครก หมู่ที่ 7 14. บ้านขุนหาด หมู่ที่ 15
7. บ้านโป่ง หมู่ที่ 8 15. บ้านยางเปียงใต้ หมู่ที่ 16
8. บ้านนาไคร้ หมู่ที่ 9

 

4.5 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
ฝาย จำนวน 49 แห่ง ได้แก่

1. บ้านหลวงหมู่ที่ 1 จำนวน 2 แห่ง
2. บ้านยางเปียง หมู่ที่ 2 จำนวน 20 แห่ง
3. บ้านแม่ลาน หมู่ที่ 3 จำนวน 5 แห่ง
4. บ้านโป่ง หมู่ที่ 8 จำนวน 6 แห่ง
5. บ้านกองซาง หมู่ที่ 12 จำนวน 1 แห่ง
6. บ้านสบลาน หมู่ที่ 10 จำนวน 10 แห่ง
7. บ้านดอย หมู่ที่ 13 จำนวน 5 แห่ง

บ่อน้ำตื้น จำนวน 207 แห่ง ได้แก่

1. บ้านหลวง หมู่ที่ 1 จำนวน 2 แห่ง
2. บ้านยางเปียง หมู่ที่ 2 จำนวน 122 แห่ง
3. บ้านยางครก หมู่ที่ 7 จำนวน 20 แห่ง
4. บ้านโป่ง หมู่ที่ 8 จำนวน 5 แห่ง
5. บ้านนาไคร้ หมู่ที่ 9 จำนวน 4 แห่ง
6. บ้านดอย หมู่ที่ 13 จำนวน 4 แห่ง
7. บ้านยางเปียงใต้ หมู่ที่ 16 จำนวน 50 แห่ง

 

สระเก็บน้ำ จำนวน 356 แห่ง ได้แก่
1. บ้านหลวง หมู่ที่ 1 จำนวน 20 แห่ง
2. บ้านยางเปียง หมู่ที่ 2 จำนวน 161 แห่ง
3. บ้านยางครก หมู่ที่ 7 จำนวน 61 แห่ง
4. บ้านโป่ง หมู่ที่ 8 จำนวน 21 แห่ง
5. บ้านนาไคร้ หมู่ที่ 9 จำนวน 1 แห่ง
6. บ้านดอย หมู่ที่ 13 จำนวน 52 แห่ง
7. บ้านยางเปียงใต้ หมู่ที่ 16 จำนวน 38 แห่ง
8. บ้านหลังป่าข่า หมู่ที่ 17 จำนวน 2 แห่ง

5. ศักยภาพในตำบล


ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบล
(1) จำนวนบุคลากร
พนักงานส่วนตำบลจำนวน 13 คน

ตำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลจำนวน 1 คน
1. นางศศิทร ปากเกร็ด ตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองคลังรักษาราชการแทน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลยางเปียง

 

ตำแหน่งในสำนักงานปลัดฯจำนวน 5 คน

1. นางอ้อยใจ สุภา ตำแหน่ง หัวหน้าสำนักปลัดฯ

2.นายพัฒนาเกียรติ ใหญ่วงศ์ นักพัฒนาชุมชนชำนาญการ

3. นายวศิน ศรสุวรรณ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ 

4. นายธนวัฒน์ จาพา ตำแหน่ง นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

5. นางสาวชญานุตม์ เริงไม ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

 

ตำแหน่งในกองคลังจำนวน 2 คน
1. นางศศิทร ปากเกร็ด ตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองคลัง
2. นางสาววิไลพร อินต๊ะเรือง ตำแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

 

ตำแหน่งในส่วนโยธาจำนวน 2 คน
1. นายอัญเชิญ ละคำ ตำแหน่ง นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน รักษาราชการแทน ผู้อำนวยการกองช่าง

2. นายอัญเชิญ ละคำ ตำแหน่ง นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

3. นายวัฒนชัย คำต๋อ ตำแหน่ง นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

 

 

ตำแหน่งในส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมจำนวน 5 คน
1. นางแสงเดือน ขุนทอง ตำแหน่ง นักวิชาการศึกษาชำนาญการ
2. นางเรณู บุษดาคำ ตำแหน่ง ครู อันดับ คศ.2
3. นางสร้อยทอง ขันแก้วกาศ ตำแหน่ง ครู อันดับ คศ.2
4. นางศรีไพร อภิบาลกุญชร ตำแหน่ง ครู อันดับ คศ.2
5. นางวิมลรัตน์ สุยะ ตำแหน่ง ครู อันดับ คศ.1

 

ลูกจ้างประจำ จำนวน 1 คน
1. นายศักดิ์ชัย พรหมเสน ตำแหน่ง นักพัฒนาชุมชน

พนักงานจ้างตามภารกิจ จำนวน 21 คน
1. นางเพชรรัตน์ พรหมเสน ตำแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
2. นายพิชิต โกพอ ตำแหน่ง ผู้ช่วยนักพัฒนาชุมชน
3. ว่าที่ ร.ต.หญิงศรีสุดา สหายมิตร ตำแหน่ง ผู้ช่วยนักวิชาการเกษตร